[x] ปิดหน้าต่างนี้
Powered by ATOMYMAXSITE 2.5
องค์การบริหารส่วนตำบลนาปรัง
ยินดีต้อนรับคุณ บุคคลทั่วไป  
English Chinese (Simplified) Chinese (Traditional) French German Italian Japanese Korean Portuguese Russian Spanish Vietnamese Thai     
ค้นหา   
เมนูหลัก
แผนยุทธศาสตร์ฯ อบต.
แผนการท่องเที่ยว 2559-2561
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ. 2558 – 2562)
แผนพัฒนา อบต.นาปรัง
ประกาศใช้แผนพัฒนาท้องถิ่น(พ.ศ.2566-2570) แก้ไขครั้งที่1/2566
แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ.2561 - 2565) ฉบับเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลง ครั้งที่ 4 พ.ศ.2564
ประกาศใช้แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ.2566-2570)
แผนพัฒนาท้องถิ่น(2561-2565) เพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลง ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2563
ประกาศใช้แผนพัฒนาท้องถิ่น(พ.ศ.2561-2565)ฉบับเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลง ครั้งที่ 2 พ.ศ.2563
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (2561-2564) เพิ่มเติม ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2563
แผนพัฒนาท้องถิ่นห้าปี (พ.ศ.2561-2565)
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (2561 - 2564) เพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลง ครั้งที่ 3
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (2561 - 2564) เพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลง ครั้งที่ 2
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561-2564)
ข้อบัญญัติตำบลนาปรัง
ประกาศใช้ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ2565
ประกาศใช้ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำงบประมาณ2564
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
ข้อบัญญัติงบประมาณ ปี 2562
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปี พ.ศ.2561
ข้อบัญญัติ อบต.นาปรัง 2559
ข้อบัญญัติตำบลนาปรัง 2558
งบการเงิน อบต.นาปรัง
รายงานผลการตรวจสอบรายงานการเงิน ของสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน ประจำปี 2566
รายงานการรับจ่ายเงินประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566
ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงาน ประจำไตรมาสที่4 ประจำปีงบประมาณ 2566
ประกาศงบแสดงฐานะการเงิน ประจำปีงบประมาณ 2565
ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานประจำไตรมาศที่4ประจำปีงบประมาณ 2565
รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปี 2564
ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานประจำไตรมาสที่1 ประจำปีงบประมาณ2565
รายงานการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565(รอบ 6 เดือน)
ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานประจำไตรมาศที่1 ประจำปีงบประมาณ2565
การจัดทำงบแสดงฐานะทางการเงินประจำปีงบประมาณ2564
ระบบสมาชิก
Username :
Password :
[ สมัครสมาชิก ] | [ ลืมรหัสผ่าน ]
สมาชิกทั้งหมด 5 คน
สมาชิกที่กำลังออนไลน์ 0 คน
ฝากข้อความ
ชื่อ :
ข้อความ

Close
:) :D :(
:o :p ;)
:| x( :~
(ตัวแสดงอารมณ์)

poll

   คุณคิดว่าเวปนี้เป็นอย่างไร


  1. ดีมาก
  2. ดี
  3. ปานกลาง
  4. แย่
  5. แย่มาก


คู่มือสำหรับประชาชน
สรุปผลการดำเนินงาน สปสช.
สรุปผลการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ 2560
สรุปผลการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ-ปี-59
แผน-ผล ปฏิบัติการทุจริต
รายงานผลการดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจำปี 2566
การประเมินความเสี่ยงการทุจริต ประจำปี 2567
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต ประจำปี 2567
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต ปี 2566 รอบ 12 เดือน
การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบ ปี 2566
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต ปี 2566 รอบ 6 เดือน
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตฯ พ.ศ.2566-2570
แผนบริหารจัดการความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต พ.ศ.2566
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต ปี 2565 รอบ 12 เดือน
แผนอัตรากำลัง อบต.นาปรัง
ประกาศใช้แผนอัตรากำลังบุคลกร 3ปี (งบประมาณพ.ศ. 2567-2569
ประกาศใช้แผนอัตรากำลัง 3ปี ผปีงบประมาณ (พ.ศ.2564-2566) ฉบับปรับปรุงครั้งที่3
แผนอัตรากำลัง3ปี ปีงบประมาณ พ.ศ.2564-2566 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2
แผนอัตรากำลัง3ปี ปีงบประมาณ พ.ศ.2564-2566 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1
แผนอัตรากำลัง3ปี ปีงบประมาณ พ.ศ.2564-2566
แผนอัตรากำลังสามปี (พ.ศ.2561-2563) ปรับปรุงครั้งที่ 4
ประกาศใช้แผนอัตรากำลังสามปี (พ.ศ.2561 - 2563) ปรับปรุง ครั้งที่2
แผนดำเนินงาน อบต.นาปรัง
รายงานผลความก้าวหน้าในการดำเนินงานและการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปี 2567
รายงานผลการดำเนินงานประจำปี 2566
แผนการดำเนินงานองค์การบริหารส่วนตำบลนาปรัง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566
ทดสอบ

  

  หมวดหมู่ : บทความทางวิชาการ
เรื่อง : โรคพิษสุนัขบ้า
โดย : admin
เข้าชม : 561
พฤหัสบดี ที่ 27 เดือน พฤษภาคม พ.ศ.2564 ปักหมุดและแบ่งปัน
     

โรคพิษสุนัขบ้าหรือโรคกลัวน้า เป็นโรคติดต่อร้ายแรงชนิดหนึ่ง เกิดจากเชื้อไวรัสชื่อ เรบีส์ ไวรัส (Rabies) ทาให้เกิดโรคได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ทุกชนิด เช่น คน สุนัข แมว ลิง ชะนี กระรอก ค้างคาว ฯลฯ โรคนี้เมื่อเป็นแล้ว จะทาให้มีอาการทางประสาท โดยเฉพาะระบบประสาทส่วนกลาง และถ้าเป็นแล้วเสียชีวิตทุกราย ในปัจจุบันยังไม่มียาอะไรที่จะรักษาโรคพิษสุนัขบ้าได้
คนติดโรคพิษสุนัขบ้าจากทางใดได้บ้าง?
คนเป็นโรคพิษสุนัขบ้าเนื่องจากได้รับเชื้อโรคพิษสุนัจบ้าจากสัตว์ที่เป็นโรค คนสามารถติดโรคจากสัตว์เหล่านี้ได้ 2 ทาง คือ
1. ถูกสัตว์ที่เป็นโรคกัด เชื้อไวรัสจากน้าลายของสัตว์ที่เป็นโรคจะเข้าสู่ร่างกายทางบาดแผลที่ถูกกัด
2. ถูกสัตว์ที่เป็นโรคเลีย โดยปกติคนถูกสัตว์ที่เป็นโรคเลีย จะไม่ติดโรคจากสัตว์เหล่านั้น นอกเสียจากว่าบริเวณที่ถูกเลียจะมีบาดแผล หรือรอยถลอก หรือรอย ขีดข่วน โดยคนนั้น ไม่ได้สังเกต ในกรณีนี้ จะทาให้สามารถเป็นโรคพิษสุนัขบ้าได้ รวมทั้ง ถูกเลียที่ริมฝีปาก หรือนัยน์ตา
คนที่เป็นโรคพิษสุนัขบ้าจะมีอาการอย่างไร?
ในระยะ 2 - 3 วันแรก อาจมีไข้ต่าๆ ต่อไปจะมีอาการเจ็บคอ เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย คันหรือปวดแสบปวดร้อนตรงบริเวณแผลที่ถูกกัด ทั้งๆ ที่แผลอาจหาย เป็นปกติแล้ว ต่อไปจะมีอาการตื่นเต้นง่ายกระสับกระส่าย ไม่ชอบแสงสว่าง ไม่ชอบลม และไม่ชอบเสียงดัง กลืนลาบาก แม้จะเป็นของเหลวหรือน้า เจ็บมากเวลากลืน เพราะการเกร็งตัวของกล้ามเนื้อที่ใช้ในการกลืน แต่ยัง มีสติพูดจารู้เรื่อง ต่อไปจะเอะอะมากขึ้น และสุดท้าย อาจมีอาการชัก เป็นอัมพาต หมดสติ และเสียชีวิต เนื่องจาก ส่วนที่สาคัญของสมองถูกทาลายไปหมด
ข้อควรปฏิบัติภายหลังจากถูกสุนัขบ้า
หรือสัตว์ที่สงสัยว่าบ้ากัด…..
1. ล้างแผลทันทีด้วยน้าสะอาด ฟอกด้วยสบู่ 2 - 3 ครั้ง แล้วทาแผลด้วยน้ายาพิวิดีน (เบตาดีน) หรือแอลกอฮอล์ หรือทิงเจอร์ ไอโอดีน แล้วรีบไปปรึกษาแพทย์ทันที
2. ถ้าสุนัขตายให้นาซากมาตรวจ ถ้าหากสุนัขไม่ตายให้ขังไว้ดูอาการ 10 วัน ขณะเดียวกันให้รีบไปฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ส่วนการรักษาทางสมุนไพร หรือแพทย์แผนโบราณ ไม่สามารถป้องกันโรคได้ ไม่ควรรอดูอาการสุนัข เพราะอาจสายเกินไปที่จะฉีดวัคซีน
3. ในกรณีที่ติดตามสัตว์ที่กัดไม่ได้ เช่น เป็นสัตว์ป่า สัตว์จรจัด สัตว์กัดแล้วหนีไป หรือ จาสัตว์ที่กัดไม่ได้ จาเป็นต้องรับการฉีดวัคซีน
4. ผู้ที่ต้องมารับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า คือ มีบาดแผล ไม่ว่าจะเป็นรอยช้าเขียวหรือมีเลือดไหล แผลถลอกหรือแผลลึก รวมทั้ง ผู้ที่ถูกสุนัขเลียที่นัยน์ตา ริมฝีปาก และผิวหนังที่มีแผลถลอก ส่วนในกรณีที่ถูกเลียผิวหนังที่ไม่มีแผลหรือเพียงแต่อุ้มสุนัขไม่สามารถจะติดโรคได้
วัคซีนที่ใช้ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
เนื่องจากในปัจจุบันเราใช้วัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ชนิดที่ทาจากเซลล์เพาะเลี้ยง (ฉีด 5 ครั้ง
เท่านั้น) เพราะมีประสิทธิภาพสูง ไม่ทาให้เกิดอาการแพ้ ต่อระบบประสาท และควรฉีดเซรุ่มร่วมด้วย
ถ้าบาดแผลมีเลือดออกถูกเลียที่ริมฝีปากน้าลายกระเด็นเข้าตา
สถานเสาวภาใช้โปรแกรมการฉีดวัคซีน
2 แบบ คือ
แบบปกติฉีดเข้ากล้ามเนื้อ และแบบประหยัด
ฉีดเข้าชั้นผิวหนัง แต่ละแบบจะได้รับการ ฉีดวัคซีน
ทั้งหมด 5 ครั้ง
เซรุ่มป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าเป็นอย่างไร?
เซรุ่มป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า เป็นเซรุ่มส่วนของน้าใสของเลือดที่ได้จากบ้า หรือคนที่ได้รับการฉีด
วัคซีนโรคพิษสุนัขบ้า ในเซรุ่มจะมีโปรตีน ที่ทาหน้าที่เป็นภูมิคุ้มกันต่อไวรัสโรคพิษสุนัขบ้า ในปริมาณ
ที่มากเซรุ่มจะไปทาลายเชื้อไวรัส ในร่างกายของผู้ที่ถูกสุนัขบ้ากัด โดยการฉีดรอบๆ แผลก่อน ที่จะก่อ
โรค และก่อนที่ภูมิต้านทานของร่างกายจะสร้างขึ้นด้วยเหตุนี้ การให้เซรุ่มป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ร่วมกับ
การฉีดวัคซีนเข็มแรก จึงเป็นวิธีที่จะป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าได้ผลดีที่สุดทุกวันเวลาราชการ
ประโยชน์ของการฉีดวัคซีนป้องกันล่วงหน้า
1. เมื่อถูกสัตว์กัด การฉีดวัคซีนกระตุ้นเพียง 1-2เข็ม ร่างกายก็จะได้ภูมิต้านทานที่สูงพอจะป้องกันโรคอย่างได้ผล
2. ไม่เสี่ยงต่อการแพ้เซรุ่ม หรือเจ็บปวดจากการฉีดเซรุ่มรอบๆแผล
สัตว์ที่เป็นโรคพิษสุนัขบ้าจะมีอาการอย่างไร? พบได้ 2 แบบ คือ
1. แบบดุร้าย มีอาการหงุดหงิด ไล่กัดคน และสัตว์อื่นๆ ถ้าผูกโซ่ หรือกักขังไว้ในกรงจะกัดโซ่กรง หรือสิ่งของที่อยู่ใกล้อย่างดุร้าย เมื่อแสดงอาการดุร้ายได้2 - 3 วัน ก็จะอ่อนเพลียลง ขาหลังไม่มีแรง เดินโซเซและ ตายในที่สุด
2. แบบเซื่องซึม มีอาการปากอ้าหุบไม่ได้ ลิ้นมีสีแดงคล้า บางครั้งมีสิ่งสกปรกติดอยู่และลิ้นห้อยออกมานอกปาก มีอาการคล้ายกระดูกติดคอ สุนัขจะเอาขาหน้าตะกุยบริเวณแก้มปากและคอบวม สุนัขจะลุกนั่ง ยืน และเดินไปมาบ่อยๆ





Not Rated stars เฉลี่ย : Not Rated จาก 0 ครั้ง.

บทความทางวิชาการ5 อันดับล่าสุด

      โรคพิษสุนัขบ้า 27/พ.ค./2564
      ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 15/มิ.ย./2563
      แผ่นพับ ประชาสัมพันธ์การป้องกันภัย.doc 27/พ.ค./2558
      เมื่อใดให้ลูกเรียนคอมพิวเตอร์ 24/ม.ค./2554
      ธุรกิจโฆษณาบนเว็บ 24/ม.ค./2554